วันอังคารที่ 27 ธันวาคม พ.ศ. 2554

ระยะเวลาดำเนินการ

กำหนดการฝึกอบรม รวม 4 ครั้ง
ใช้เวลาครั้งละประมาณ 2 ชั่วโมง (08.00 – 10.00 น.)
ระหว่างวันที่ 29, 30 พฤศจิกายน และ วันที่ 6, 7 ธันวาคม 2554

ครั้งที่ 1 เวลา 08.00 – 10.00 น. วันอังคาร ที่ 29 พฤศจิกายน  
สถานที่ เม็กซิโก – บมจ.ทีโอที – ร.ร.วังไกลกังวล

ครั้งที่ 2    08.00 – 10.00 น. วันพุธ ที่ 30 พฤศจิกายน        
สถานที่เม็กซิโก – บมจ.ทีโอที – ร.ร.วังไกลกังวล
ครั้งที่ 3   8.00 – 10.00 น. วันอังคาร ที่ 6 ธันวาคม         
สถานที่ เม็กซิโก – บมจ.ทีโอที – ร.ร.วังไกลกังวล
ครั้งที่ 4    08.00 – 10.00 น. วันพุธ ที่ 7 ธันวาคม             
สถานที่  เม็กซิโก – บมจ.ทีโอที – ร.ร.วังไกลกังวล

และถ่ายทอดสดทางสถานีวิทยุโทรทัศน์การศึกษา
ทางไกลผ่านดาวเทียม (DLTV) ช่อง 14 โดย
ผ่านเครือข่าย True Vision ในระบบดาวเทียม (DSTV)
ช่อง 199 และ ระบบเคเบิลทีวี (CATV) ช่อง 60

วิทยากรระดับสากลให้การอบรม

วิทยากรไทย
1. รศ.ดร. ศุภวรรณ ตันตยานนท์
อาจารย์ประจำภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ
นายกสมาคมเคมีแห่งประเทศไทย ในพระอุปถัมภ์ของ ศาสตราจารย์ ดร. สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ
เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี
2. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สุภกร บุญยืน
อาจารย์ประจำภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และ
กรรมการสมาคมเคมีแห่งประเทศไทยฯ
3. อาจารย์ ดร ปาริฉัตร วนลาภพัฒนา
อาจารย์ประจำภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
วิทยากรเม็กซิกัน
Department of Chemical Engineering, Mexican Center for Green and Microscale
Chemistry, Universidad Iberoamericana, Mexico
1. Professor Dr. Jorge G. Ibáñez-Cornejo , Chair
2. Assistant Professor Dr. Martha Ibarguengoitia
3. Assistant Professor Dr. Guadalupe Castaneda-Ramos

หัวข้อการอบรมครูวิทยาศาสตร์

หัวข้อการอบรม
ตอนที 1: แนะนำปฏิบัติการเคมีแบบย่อส่วน

>หลักการและอุปกรณ์ของปฏิบัติการเคมีแบบย่อส่วน
>ตัวอย่างการทดลองปฏิบัติการเคมีแบบย่อส่วนอย่างง่าย
>ประโยชน์ของปฏิบัติการเคมีแบบย่อส่วน
ตอนที 2:การทดลอง 
>อิเลกโทรลิซิส
>การตกตะกอนของทองแดงด้วยไฟฟ้า
>เลขออกซิเดชันของแมงกานีส
>ปฏิกิริยารีดอกซ์
ตอนที 3: การทดลอง
>กรดเบสไทเทรชัน
>pH; อินดิเคเทอร์ธรรมชาติ
>การสกัดคลอโรฟิลล์
>การสกัดแอสไพรินจากยาแก้ปวด
ตอนที 4: การทดลอง 
>การเกิดและสมบัติชองแก๊ส CO2, H2, O2, Cl2
>การแพร่ของแก๊ส

โครงการฝึกอบรมครูวิทยาศาสตร์

โครงการฝึกอบรมครูวิทยาศาสตร์ ด้วยวิธีการประชุมทางไกลระบบวิดีทัศน์ระหว่างประเทศ พ.ศ. 2554 ------------------------------------------------------------------ หลักการและเหตุผล มูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม รับสนองพระบรมราโชบายของพระบาทสมเด็จพระ เจ้าอยู่หัวเร'ืองการปรับปรุงวิธีการเรียนการสอนวิชาภาษาอังกฤษ วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ และมูลนิธิฯ ได้รับความร่วมมือจากสถาบันการศึกษาทั4งในและต่างประเทศ ในการจัดอบรมผ่านการประชุมทางไกล ระบบวีดีทัศน์ ด้วยการสนับสนุนด้านการเช'ือมต่อโครงข่ายจากบริษัท ทีโอที จำกัด และได้ขยายความร่วมมือ การพัฒนาคุณภาพการศึกษานับตั4งแต่ปี พ.ศ. 2546 เร'ือยมาเป็นประจำทุกปี ตั4งแต่ระดับพ4ืนฐานจนถึงระดับสูง ท'ีผ่านมานับว่าประสบผลสำเร็จด้วยดี ในปี พ.ศ. 2554 หรือ ค.ศ. 2011 สหประชาชาติ หรือ ยูเอ็น และองค์การการศึกษาวิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ หรือ ยูเนสโก (UNESCO) และ สหพันธ์เคมีบริสุทธิGและประยุกต์สากล หรือ ไอยูแพค (IUPAC) ได้ประกาศให้เป็น “ ปีเคมีสากล 2011” (International Year of Chemistry 2011) หรือ ไอวายซี 2011 (IYC 2011) เพ'ือให้ทัว' โลกตระหนักถึงความสำคัญและประโยชน์ของเคมีท'ีมีต่อมนุษย์ อย่างมหาศาล ส่งเสริมนักเคมีให้เร่งคิดค้นอย่างสร้างสรรค์เพ'ือแก้ไขปัญหาท'ีมนุษย์เผชิญอยู่ และจูงใจเยาวชน ให้สนใจศึกษาเคมีกันมากขึ4น โดยกำหนดทีมของโอกาสพิเศษนี4ว่า “ เคมี.... ชีวิตของเรา อนาคตของเรา ” (Chemistry…. Our Life, Our Future) ดังนั4นจึงมีการจัดกิจกรรมต่างๆ ในแต่ละประเทศทัว' โลก เพ'ือเป็นการ ร่วมรำลึกถึงความพิเศษของเคมี และร่วมฉลองความสำเร็จของเคมีตลอดปี นี4 มูลนิธิฯ จึงร่วมกับสมาคมเคมีแห่งประเทศไทยฯ จัดให้มีการอบรมหัวข้อเร'ือง “ปฏิบัติการเคมี แบบย่อส่วน” เพ'ือร่วมฉลอง “ปี เคมีสากล 2011” นี4 และจะเป็นประโยชน์ต่อครูผู้สอนวิทยาศาสตร์ท'ีจะได้รับ เทคนิคการสอน ตลอดจนความรู้ด้านวิทยาศาสตร์แนวใหม่ ท'ีจะนำไปถ่ายทอดสู่ผู้เรียนเพ'ือให้การเรียนการ สอนเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ วัตถุประสงค์ เพ'ือพัฒนาวิชาชีพครูระดับมัธยมศึกษาให้มีความรู้เพิ'มมากข4ึนและมีทักษะในระดับก้าวหน้าขึ4น ในการสอนวิทยาศาสตร์ในเร'ือง “ปฏิบัติการเคมีแบบย่อส่วน” ทั4งนี4ผู้เข้ารับการอบรมสามารถนำวิธีการเรียน การสอนไปปฏิบัติในชั4นเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ